Odoo ระบบ ERP ระบบ ซื้อ ขาย การผลิต บัญชี Enterprise resource planning
แนะนำ การนำ Odoo หรือ OpenERP เพื่องาน ซื้อมาขายไป งานโรง งาน แนะนำ POS Enterprise resource planning
ติดต่อ ปรึกษา Implement ERP Tel: 086-703-1560
By: http://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?f=6&t=2042
Odoo ระบบ ERP ระบบ ซื้อ ขาย การผลิต บัญชี Enterprise resource
สำหรับช่วงบ่ายก็จะมาพูดเรื่องการซื้อมาขายไป ในส่วนแรกจะมาเรียนรู้ในการซื้อขายเก็บสต๊อก และในส่วนของบัญชีนะตาบจะขอพูดในส่วนของการตั้งค่าข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับการซื้อขายก่อน
ในส่วนแรกเลยเนี่ยในส่วนของแถบเมนู Accounting เนี่ย หลักของตัว Accounting ก็คือตัว Chat of Account หรือว่าตัวผังบัญชีโดยทั่วไปเนี่ยในตัวผังบัญชีก็จะกำหนดกำหนดเป็น 5 ส่วนอยู่แล้ว สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ ค่าใช้จ่าย นะคะ และในส่วนย่อย ๆ ที่เราจะบันทึกบันชีก็คือแล้วแต่ละบริษัท ว่ามีรายละเอียดตัวการบันทึกบัญชียังไงนะ ซึ่งในส่วนตรงนี้เราจะสามารถเข้ามาเพิ่ม สร้างเพิ่มลดได้ตามลักษณะการใช้งาน การบันทึกบัญชีของแต่ละบริษัทนในส่วนของบัญชีของบัญชีแต่ละส่วน
ในส่วนถนัดมาก็จะเป็นในส่วนของ Taxes นะคะหรือว่าตัวภาษีี และ Taxes ก็เหมือนกันก็สามารถเพิ่มได้ อย่างวันนี้จะพูดแค่ตัวสองตัว คือภาษีซื้อกับภาษีขาย ก็เข้ามา Crate สร้างและเข้ามาตั้งค่าในส่วนของภาษีข้างใน ว่า Journal ตัวไหนคิดเป็นเป็นเซนต์แบบไหน ก็เข้ามา Config ของภาษีแต่ละตัว นะคะในส่วนต่อก็มาก็มาในส่วนของปีภาษี หรือ Physical Years ก็จำเป็นต้องสร้างก่อนว่าปีที่เราบันทึก บัญชีบังงัยอย่างตัวนี้ที่สร้างอยู่ก็คือปี 2013 และ 2014 อันนี้ก็จะเป็นปีภาษีธรรมดาว่าเราคิดบัญชียังไงรวมไปถึง ในส่วนของตัว Currency ต่าง ๆ ก็จะสามารถอัพเดทข้อมูลได้อย่างตอนนี้ข้อมูลของบริษัทตอนนี้ใช้สกุลเงินเป็น THB แต่เราก็จะสามารถ Converts เวลาเราซื้อขายกับต่างประเทศ ว่าอัพเดทตามสกุลเงินไทยมันก็จะคำนวณตามอัตตราแลกเปลี่ยนที่เราบันทึกไว้ในระบบนี้ นี่ก็จะเป็นส่วนคราวๆ ก่อน
ในส่วนของบัญชี ในส่วนต่อมาเราจะซื้อจะขายจะเก็บของได้ เราจะทำไม่ได้เลยถ้าเราไม่มีขอมูลในส่วนของสินค้า ในข้อมูลของสินค้า ในข้อมูลของสินค้าแต่ละตัวเนี่ยก็จะมันก็จะประกอบไปด้วยรายละเอียดมากมายในส่วนหลัก ๆ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าที่จะเป็นจะต้องระวังเลย ก็คือในส่วนของตัวหน่วยวัด เราต้องเข้ามาสร้างในตัวของหน่วยวัดก่อน หน่วยวัดจะต้องสร้างข้อมมูลในสองส่วน คือในส่วนแรกก็จะสร้างในตัวหมวดหมู่ของหน่วยวัดหรือว่าในตัว ในส่วนของการสร้างหน่วยวัดเนี่ยมันจะใช้ประโยชน์ตอนที่เราจะคำนวณรับ เช่น สินค้าบางตัวเราซื้อเป็นกล่องเป็นลัง เป็นพาเลส แล้วเราก็แยกขายเป็นชิ้น ตัวนี้มันจะใช้ในส่วนของการ Converts ในส่สนของจำนวนให้อย่างสมมุมติว่าเรารับสินค้ามาหนึ่งกล่อง Warehouse มันก็จะโชว์เลยว่าในหนึ่งกล่องจะมี 100 ชิ้น เพ่อให้สะดวกในการขายได้ หรือว่า การขายเราอาจตั้งราคาได้ว่าขายชิ้นหนึ่งราคาหนึ่ง หรือขายเป็นโหลอีกราคาหนึ่ง เป็นกล่องราคาหนึ่งก็ได้
ซึ่งในตัวของหน่วยวัดเนี่ยหลัก ๆ ก็ต้องตั้งค่าในส่วนของการคำนวณได้ถูกต้อง ในส่วนของการสร้างหน่วยวัดเนี่ยแค่เอาง่ายเลยคือกำหนดค่าหน่วยวัด ตั้งให้อยู่ใน Category ไหน Type ของมันเป็นอะไร Type ของมันก็จะมีให้เลือก 3 อย่าง คือ Reference Unit bigger และ smaller สมมุติตัวนี้ เป็นชิ้น type ให้เป็น Reference Unit ติ๊กที่ Active และ Rounding ให้มันแสดงรายละเอียด ที่นี้ยกตัวอย่างการสร้างเป็นโหลเมื่อโหลมันเทียบกับชิ้นมันคือ Bigger than เมื่อเป็น Bigger Than ต้องมาใส่ Ratio ในการ Converse จำนวนก็คือ หนึ่งโหลมี 12 ชินอันนี้ก็คือง่าย ๆ เมื่อเราสร้าง Unit แล้วเราสามารถจะ Converse ได้ตามที่เราต้องการเลย ทีนี้กลับมาในส่วนของการสร้างข้อมูลสินค้าสังเกตได้ว่าทุกการสร้างข้อมูลใน OpenERP แค่คลิก Create เข้าไประบุในข้อมูลต่าง ๆ นะคะ ที่นี้ในส่วนของข้อมูลสินค้าเนี่ยคล้ายตัวตัวของพนักงานเลยสามารถจะ Edit เปลี่ยนรูปภาพได้ ตั้งชื่อสินค้า สร้างรายละเอียดต่างๆ ได้
Category จะมีประโยชน์ในการคำนวนณค่าสินค้า คำนวณพวกราคา โปรโมชั่นต่าง ๆ สมมุติว่ากำหนดทั่วไปว่าเป็น All Product ทีนี้มาในส่วนแรกที่สำคัญคือ Information ข้อมูลทั่วไปของสินค้าก็คือตัว Product Type ตัวนี้ในโปรแกรม OpenERP มันจะมองโปรดักออกเป็นทั้งหมด 3 ประเเภท คือง่าย ๆ เลยตัว Service จะไม่มีการสต๊อกไม่มีการเก็บสต๊อกทีนี้ก็จะมีอยู่ 2 ประเภทที่คล้ายๆ กันคือ Stockable Product และ Consumable Product ถามว่ามันต่างกันยังไง Stockeble มันจะมองว่าสินค้าที่มีอยู่จริง ๆ ในระบบ แต่ถ้าเป็น Consumable จะมองว่าสินค้าตัวนี้อยู่ตลอดเวลา อาจจะยังไม่เห็นภาพยกตัวอย่างคือ สินค้าแก้วน้ำ A เป็น Consumeble แก้วน้ำ B เป็น Stockeble ทั้งแก้วน้ำ A และแก้วน้ำ B Stock เป็น 0 สมมุติว่าเราทำ Sale Order สินค้าแก้วน้ำ A กับ B อยู่ที่ 100 ชิ้น จะมีแก้วน้ำ B เท่านั้นที่แจ้งเตือนมาว่ามันเปิดขายไม่ได้นะเพราะใน Stock ตรงนี้เปน 0 แต่ในขณะที่แก้วน้ำ A ระบบมองตลอดว่ามันมีของเพราะมันเป็น Consumebel มันจะสามารถเปิดขายไปได้เลย
ที่นี้ถ้าถามว่าถ้าต้องการให้นับสต๊อกอยู่แล้วก็ให้เลือกเป็น Stockeble ดีที่สุด อันนี้เราสาารถตั้งค่า Confirm ต่างๆ ได้ นี่ก็เป็นตัวหนึ่งที่จะช่วยเตือนเรารวมถึง Internal Reference อะไรใส่ไป มาแถบต่อไป Procurement ก็จะมี Procrment Method ให้เราเลือกมี Make to Stock และ Make to Order คือเหมือนกันกับการแยกประเภท Supply Method ก็จะมี Menufactore และ Buy ตัว Buy ก็จะลิงค์กับ โมดูล purchase และตัว Manufacture ลิงค์กับ การผลิต และในส่วนของ Cost เราก็กำหนดได้ว่าจะเป็นในส่วนของ Standard หรือ Averge เช่นเดียวันหน่วยเป็น Unit ที่นี้มาในส่วนของ Inventory
มาดูในส่วนของ Stock มันจะมีข้อมูลในส่วนของการเก็บ Stock อย่างแรกเลยคือ On-Hand, Incoming, Outgoing, Forecasted Quanlity มาดู On-Hand สต๊อกที่มันมีอยู่จริง ๆ ในตอนนี้จะเห็นว่ามันมีอยู่ที่ Warehouse เท่าไหร่ Incoming คือ Plan สินค้าที่จะเข้าง่าย ๆ ก็คือ PO ที่ถูก Confirm แล้วซื้อเข้ามาเท่าไหร่ ก็เหมือนกัน Outgoing คือ Plan สินค้าที่จะออก คือจำนวนที่เรา Confirm SO แล้วง่าย ๆ เอา On-hand + Incoming - Outgoing ให้เรารู้จำนวน Foretasted Quality ที่ใกล้นี้มันเท่าไหร่ รวมไปถึงประเภทสินค้าเราสามารถตั้งได้ รวมไปถึงน้ำหนักต่างก็สามารถกำหนดได้ใช้ในการคำนวณคอสค่าต่างๆ แล้วก็ Storage ต่าง ๆ ว่าแถวไหน ในส่วนถนัดมาก็ในส่วนของ Sale ว่ามี Warranty ใหม่หรือ มี Unit เป็นอะไร ส่วนของ Account ก็บันทึกบัญชียังไงเกี่ยวกับการขายอย่างที่บอกว่าจะกำหนดเป็นภาษีขายและภาษีซื้อที่นี้สักเกตนิดหนึ่งว่าในตั Unit ที่บอกว่าสำคัญมันจะปรากฎอยู่ใน 3 แถบเมนูคือ Information,Procurement, แล้วก็ Sale
อย่างตัวที่ยกตัวอย่างทุกตัวเป็น Unit เดียวกันหมดเลยคือเป็นชิ้นเพราะฉะนั้นคือมันมองง่าย ซื้อเป็นชิ้น เก็บ Stock เป็นชิ้น ขายเป็นชิ้น แต่ถ้าสมมุติว่าสินค้าตัวนี้การใส่ตัวนี้สมมุติเป็นโหล ขายเป็นชิ้น คำถามคือ Cost 20 บาทเป็น Cost เกี่ยวกับอะไร จำไว้ว่าสินค้าทุกตัวจะยึด Unit ตาม information หมายความว่าถึงแม้ตรงนี้ใส่เป็นโหล 20 คือ 20 บาทต่อชิ้นอย่างเช่น Inventory ก็จะเก็บหน่วยเป็นชิ้น อันนี้คือเผื่อไว้ ที่ว่าหน่วยสำคัญสมมุติว่าสินค้าเป็นแก้วน้ำ แต่ใสหน่วยเป็น กิโลเมตร เราจะกลับมาแก้ไขไม่ได้เราต้อง Inactive ไปเลย เพราะฉนั้นการเลือกหน่วย ต้องระวัง แต่ในขณะเดี่ยวกันสร้างตัวนี้เป็นชิ้นแต่ว่าจะเปลี่ยนเป็นโหลภายหลังได้อันนี้ก็เป็นข้อมูลทั่วไปของ Product ที่นี้พอมาเห็นข้อมูลทั่วไปเช่น ราคา Sale มีราคาเดียวที่ 20 บาททั้งที่สินค้าตัวหนึ่งเราไม่ได้ซื้อที่ 20 บาทตลอด หร่ือว่าไม่ได้ขายที่ราคา 100 บาทตลอดราคาที่ปรากฏในโปรดักเป็นรายการทั่วไปถ้ามองก็เป็นราคาตั้งต้น
จะมีส่วนหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นสกุลเงินส่วนนี้เรียกว่า Price lists ในส่วนของ Price list มันจะมีในส่วนของงานซื้อและงานขายตัว Prices ก็จะสามารถกำหนดทำโปรโมชั่นส่วนของแก้วน้ำใน Price List หนึ่งใบจะประกอบไปด้วยส่วนหลัก ๆ คือ Price list Version กับ Price list item ถามว่า 2 ตัวต่างกันอย่างไร Price list Version เป็นการกำหนดระยะเวลาที่จะให้มัน Active อย่างเช่นแก้วน้ำสามารถทำโปรโมชั่นต่างกันได้ โดยการกำหนดตัวนี้ ดูโปรโมชั่นของของเดือนพฤษภาคม พอเลือกในส่วนของระยะเวลาก็จะเข้ามาในส่วนการคำนวณแล้วว่าการคำนวณในโปรโมชั่นตัวเนี่ยได้มาอย่างไร หรือว่าเราจะเลือกว่าโปรโมชั่นตัวนี้จะเลือกเป็นโปรดักหรือจะเป็น Per Category
ตัว Category มีส่วนในการคำนวณเราก็อยากให้มันซอยคำนวณถึงตรงไหนเราก็ไปสร้างตรง Product Category เราเลือกเป็นตรงนี้ให้คำนวณหมายความความอย่างสมมุติว่าอยากจะให้คำนวณโปรโมชั่นเป็น Category ก็ได้ เช่น อยากทำโปรโมชันปากกาไม่ว่าจะแบบไหนลด 10% ทุกตัวถ้าซื้อตั้งแต่ 5000 บาทขั้นไปเราก็เลือก Category ของปากกาทั้งชุดเลย และกำหนดระยะเวลาไว้ล่วงหน้าว่าเราต้องการกำหนดไว้ตรงไหนอันนี้ก็จะเป็นการใช้งานในส่วนของตัว Price List คราวๆ นอกนั้นก็จะเป็นในลักษณะของการตั้งค่าว่าในการคำนวณยังไงและก็เช่นเดี่ยวกันในส่วนของการแปลงสกุลเงินก็เหมือนกันสามารถใช้ Price lists ตรงนี้ได้
ติดต่อ ปรึกษา Implement ERP Tel: 086-703-1560
By: http://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?f=6&t=2042
Odoo ระบบ ERP ระบบ ซื้อ ขาย การผลิต บัญชี Enterprise resource
สำหรับช่วงบ่ายก็จะมาพูดเรื่องการซื้อมาขายไป ในส่วนแรกจะมาเรียนรู้ในการซื้อขายเก็บสต๊อก และในส่วนของบัญชีนะตาบจะขอพูดในส่วนของการตั้งค่าข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับการซื้อขายก่อน
ในส่วนแรกเลยเนี่ยในส่วนของแถบเมนู Accounting เนี่ย หลักของตัว Accounting ก็คือตัว Chat of Account หรือว่าตัวผังบัญชีโดยทั่วไปเนี่ยในตัวผังบัญชีก็จะกำหนดกำหนดเป็น 5 ส่วนอยู่แล้ว สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ ค่าใช้จ่าย นะคะ และในส่วนย่อย ๆ ที่เราจะบันทึกบันชีก็คือแล้วแต่ละบริษัท ว่ามีรายละเอียดตัวการบันทึกบัญชียังไงนะ ซึ่งในส่วนตรงนี้เราจะสามารถเข้ามาเพิ่ม สร้างเพิ่มลดได้ตามลักษณะการใช้งาน การบันทึกบัญชีของแต่ละบริษัทนในส่วนของบัญชีของบัญชีแต่ละส่วน
ในส่วนถนัดมาก็จะเป็นในส่วนของ Taxes นะคะหรือว่าตัวภาษีี และ Taxes ก็เหมือนกันก็สามารถเพิ่มได้ อย่างวันนี้จะพูดแค่ตัวสองตัว คือภาษีซื้อกับภาษีขาย ก็เข้ามา Crate สร้างและเข้ามาตั้งค่าในส่วนของภาษีข้างใน ว่า Journal ตัวไหนคิดเป็นเป็นเซนต์แบบไหน ก็เข้ามา Config ของภาษีแต่ละตัว นะคะในส่วนต่อก็มาก็มาในส่วนของปีภาษี หรือ Physical Years ก็จำเป็นต้องสร้างก่อนว่าปีที่เราบันทึก บัญชีบังงัยอย่างตัวนี้ที่สร้างอยู่ก็คือปี 2013 และ 2014 อันนี้ก็จะเป็นปีภาษีธรรมดาว่าเราคิดบัญชียังไงรวมไปถึง ในส่วนของตัว Currency ต่าง ๆ ก็จะสามารถอัพเดทข้อมูลได้อย่างตอนนี้ข้อมูลของบริษัทตอนนี้ใช้สกุลเงินเป็น THB แต่เราก็จะสามารถ Converts เวลาเราซื้อขายกับต่างประเทศ ว่าอัพเดทตามสกุลเงินไทยมันก็จะคำนวณตามอัตตราแลกเปลี่ยนที่เราบันทึกไว้ในระบบนี้ นี่ก็จะเป็นส่วนคราวๆ ก่อน
ในส่วนของบัญชี ในส่วนต่อมาเราจะซื้อจะขายจะเก็บของได้ เราจะทำไม่ได้เลยถ้าเราไม่มีขอมูลในส่วนของสินค้า ในข้อมูลของสินค้า ในข้อมูลของสินค้าแต่ละตัวเนี่ยก็จะมันก็จะประกอบไปด้วยรายละเอียดมากมายในส่วนหลัก ๆ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าที่จะเป็นจะต้องระวังเลย ก็คือในส่วนของตัวหน่วยวัด เราต้องเข้ามาสร้างในตัวของหน่วยวัดก่อน หน่วยวัดจะต้องสร้างข้อมมูลในสองส่วน คือในส่วนแรกก็จะสร้างในตัวหมวดหมู่ของหน่วยวัดหรือว่าในตัว ในส่วนของการสร้างหน่วยวัดเนี่ยมันจะใช้ประโยชน์ตอนที่เราจะคำนวณรับ เช่น สินค้าบางตัวเราซื้อเป็นกล่องเป็นลัง เป็นพาเลส แล้วเราก็แยกขายเป็นชิ้น ตัวนี้มันจะใช้ในส่วนของการ Converts ในส่สนของจำนวนให้อย่างสมมุมติว่าเรารับสินค้ามาหนึ่งกล่อง Warehouse มันก็จะโชว์เลยว่าในหนึ่งกล่องจะมี 100 ชิ้น เพ่อให้สะดวกในการขายได้ หรือว่า การขายเราอาจตั้งราคาได้ว่าขายชิ้นหนึ่งราคาหนึ่ง หรือขายเป็นโหลอีกราคาหนึ่ง เป็นกล่องราคาหนึ่งก็ได้
ซึ่งในตัวของหน่วยวัดเนี่ยหลัก ๆ ก็ต้องตั้งค่าในส่วนของการคำนวณได้ถูกต้อง ในส่วนของการสร้างหน่วยวัดเนี่ยแค่เอาง่ายเลยคือกำหนดค่าหน่วยวัด ตั้งให้อยู่ใน Category ไหน Type ของมันเป็นอะไร Type ของมันก็จะมีให้เลือก 3 อย่าง คือ Reference Unit bigger และ smaller สมมุติตัวนี้ เป็นชิ้น type ให้เป็น Reference Unit ติ๊กที่ Active และ Rounding ให้มันแสดงรายละเอียด ที่นี้ยกตัวอย่างการสร้างเป็นโหลเมื่อโหลมันเทียบกับชิ้นมันคือ Bigger than เมื่อเป็น Bigger Than ต้องมาใส่ Ratio ในการ Converse จำนวนก็คือ หนึ่งโหลมี 12 ชินอันนี้ก็คือง่าย ๆ เมื่อเราสร้าง Unit แล้วเราสามารถจะ Converse ได้ตามที่เราต้องการเลย ทีนี้กลับมาในส่วนของการสร้างข้อมูลสินค้าสังเกตได้ว่าทุกการสร้างข้อมูลใน OpenERP แค่คลิก Create เข้าไประบุในข้อมูลต่าง ๆ นะคะ ที่นี้ในส่วนของข้อมูลสินค้าเนี่ยคล้ายตัวตัวของพนักงานเลยสามารถจะ Edit เปลี่ยนรูปภาพได้ ตั้งชื่อสินค้า สร้างรายละเอียดต่างๆ ได้
Category จะมีประโยชน์ในการคำนวนณค่าสินค้า คำนวณพวกราคา โปรโมชั่นต่าง ๆ สมมุติว่ากำหนดทั่วไปว่าเป็น All Product ทีนี้มาในส่วนแรกที่สำคัญคือ Information ข้อมูลทั่วไปของสินค้าก็คือตัว Product Type ตัวนี้ในโปรแกรม OpenERP มันจะมองโปรดักออกเป็นทั้งหมด 3 ประเเภท คือง่าย ๆ เลยตัว Service จะไม่มีการสต๊อกไม่มีการเก็บสต๊อกทีนี้ก็จะมีอยู่ 2 ประเภทที่คล้ายๆ กันคือ Stockable Product และ Consumable Product ถามว่ามันต่างกันยังไง Stockeble มันจะมองว่าสินค้าที่มีอยู่จริง ๆ ในระบบ แต่ถ้าเป็น Consumable จะมองว่าสินค้าตัวนี้อยู่ตลอดเวลา อาจจะยังไม่เห็นภาพยกตัวอย่างคือ สินค้าแก้วน้ำ A เป็น Consumeble แก้วน้ำ B เป็น Stockeble ทั้งแก้วน้ำ A และแก้วน้ำ B Stock เป็น 0 สมมุติว่าเราทำ Sale Order สินค้าแก้วน้ำ A กับ B อยู่ที่ 100 ชิ้น จะมีแก้วน้ำ B เท่านั้นที่แจ้งเตือนมาว่ามันเปิดขายไม่ได้นะเพราะใน Stock ตรงนี้เปน 0 แต่ในขณะที่แก้วน้ำ A ระบบมองตลอดว่ามันมีของเพราะมันเป็น Consumebel มันจะสามารถเปิดขายไปได้เลย
ที่นี้ถ้าถามว่าถ้าต้องการให้นับสต๊อกอยู่แล้วก็ให้เลือกเป็น Stockeble ดีที่สุด อันนี้เราสาารถตั้งค่า Confirm ต่างๆ ได้ นี่ก็เป็นตัวหนึ่งที่จะช่วยเตือนเรารวมถึง Internal Reference อะไรใส่ไป มาแถบต่อไป Procurement ก็จะมี Procrment Method ให้เราเลือกมี Make to Stock และ Make to Order คือเหมือนกันกับการแยกประเภท Supply Method ก็จะมี Menufactore และ Buy ตัว Buy ก็จะลิงค์กับ โมดูล purchase และตัว Manufacture ลิงค์กับ การผลิต และในส่วนของ Cost เราก็กำหนดได้ว่าจะเป็นในส่วนของ Standard หรือ Averge เช่นเดียวันหน่วยเป็น Unit ที่นี้มาในส่วนของ Inventory
มาดูในส่วนของ Stock มันจะมีข้อมูลในส่วนของการเก็บ Stock อย่างแรกเลยคือ On-Hand, Incoming, Outgoing, Forecasted Quanlity มาดู On-Hand สต๊อกที่มันมีอยู่จริง ๆ ในตอนนี้จะเห็นว่ามันมีอยู่ที่ Warehouse เท่าไหร่ Incoming คือ Plan สินค้าที่จะเข้าง่าย ๆ ก็คือ PO ที่ถูก Confirm แล้วซื้อเข้ามาเท่าไหร่ ก็เหมือนกัน Outgoing คือ Plan สินค้าที่จะออก คือจำนวนที่เรา Confirm SO แล้วง่าย ๆ เอา On-hand + Incoming - Outgoing ให้เรารู้จำนวน Foretasted Quality ที่ใกล้นี้มันเท่าไหร่ รวมไปถึงประเภทสินค้าเราสามารถตั้งได้ รวมไปถึงน้ำหนักต่างก็สามารถกำหนดได้ใช้ในการคำนวณคอสค่าต่างๆ แล้วก็ Storage ต่าง ๆ ว่าแถวไหน ในส่วนถนัดมาก็ในส่วนของ Sale ว่ามี Warranty ใหม่หรือ มี Unit เป็นอะไร ส่วนของ Account ก็บันทึกบัญชียังไงเกี่ยวกับการขายอย่างที่บอกว่าจะกำหนดเป็นภาษีขายและภาษีซื้อที่นี้สักเกตนิดหนึ่งว่าในตั Unit ที่บอกว่าสำคัญมันจะปรากฎอยู่ใน 3 แถบเมนูคือ Information,Procurement, แล้วก็ Sale
อย่างตัวที่ยกตัวอย่างทุกตัวเป็น Unit เดียวกันหมดเลยคือเป็นชิ้นเพราะฉะนั้นคือมันมองง่าย ซื้อเป็นชิ้น เก็บ Stock เป็นชิ้น ขายเป็นชิ้น แต่ถ้าสมมุติว่าสินค้าตัวนี้การใส่ตัวนี้สมมุติเป็นโหล ขายเป็นชิ้น คำถามคือ Cost 20 บาทเป็น Cost เกี่ยวกับอะไร จำไว้ว่าสินค้าทุกตัวจะยึด Unit ตาม information หมายความว่าถึงแม้ตรงนี้ใส่เป็นโหล 20 คือ 20 บาทต่อชิ้นอย่างเช่น Inventory ก็จะเก็บหน่วยเป็นชิ้น อันนี้คือเผื่อไว้ ที่ว่าหน่วยสำคัญสมมุติว่าสินค้าเป็นแก้วน้ำ แต่ใสหน่วยเป็น กิโลเมตร เราจะกลับมาแก้ไขไม่ได้เราต้อง Inactive ไปเลย เพราะฉนั้นการเลือกหน่วย ต้องระวัง แต่ในขณะเดี่ยวกันสร้างตัวนี้เป็นชิ้นแต่ว่าจะเปลี่ยนเป็นโหลภายหลังได้อันนี้ก็เป็นข้อมูลทั่วไปของ Product ที่นี้พอมาเห็นข้อมูลทั่วไปเช่น ราคา Sale มีราคาเดียวที่ 20 บาททั้งที่สินค้าตัวหนึ่งเราไม่ได้ซื้อที่ 20 บาทตลอด หร่ือว่าไม่ได้ขายที่ราคา 100 บาทตลอดราคาที่ปรากฏในโปรดักเป็นรายการทั่วไปถ้ามองก็เป็นราคาตั้งต้น
จะมีส่วนหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นสกุลเงินส่วนนี้เรียกว่า Price lists ในส่วนของ Price list มันจะมีในส่วนของงานซื้อและงานขายตัว Prices ก็จะสามารถกำหนดทำโปรโมชั่นส่วนของแก้วน้ำใน Price List หนึ่งใบจะประกอบไปด้วยส่วนหลัก ๆ คือ Price list Version กับ Price list item ถามว่า 2 ตัวต่างกันอย่างไร Price list Version เป็นการกำหนดระยะเวลาที่จะให้มัน Active อย่างเช่นแก้วน้ำสามารถทำโปรโมชั่นต่างกันได้ โดยการกำหนดตัวนี้ ดูโปรโมชั่นของของเดือนพฤษภาคม พอเลือกในส่วนของระยะเวลาก็จะเข้ามาในส่วนการคำนวณแล้วว่าการคำนวณในโปรโมชั่นตัวเนี่ยได้มาอย่างไร หรือว่าเราจะเลือกว่าโปรโมชั่นตัวนี้จะเลือกเป็นโปรดักหรือจะเป็น Per Category
ตัว Category มีส่วนในการคำนวณเราก็อยากให้มันซอยคำนวณถึงตรงไหนเราก็ไปสร้างตรง Product Category เราเลือกเป็นตรงนี้ให้คำนวณหมายความความอย่างสมมุติว่าอยากจะให้คำนวณโปรโมชั่นเป็น Category ก็ได้ เช่น อยากทำโปรโมชันปากกาไม่ว่าจะแบบไหนลด 10% ทุกตัวถ้าซื้อตั้งแต่ 5000 บาทขั้นไปเราก็เลือก Category ของปากกาทั้งชุดเลย และกำหนดระยะเวลาไว้ล่วงหน้าว่าเราต้องการกำหนดไว้ตรงไหนอันนี้ก็จะเป็นการใช้งานในส่วนของตัว Price List คราวๆ นอกนั้นก็จะเป็นในลักษณะของการตั้งค่าว่าในการคำนวณยังไงและก็เช่นเดี่ยวกันในส่วนของการแปลงสกุลเงินก็เหมือนกันสามารถใช้ Price lists ตรงนี้ได้
มุมมอง
- 3172 Total Views
- 3172 Website Views
การดำเนินการ
- Social Shares
- 0 Likes
- 0 Dislikes
- 0 Comments
Share count
- 0 Facebook
- 0 Twitter
- 0 LinkedIn
- 0 Google+
-
สอนสร้าง Menu เมนู ใน Joomla วิธีจัดการเมนู ทำเมนู
5330 Views .