โปรแกรม ERP OpenERP สอนการใช้งานเบื้องต้น คู่มือ การซื้อ ขาย บัญชี POS MRP - Odoo

Odoo Module / แนะนำระบบ

สอนการใช้งาน โมดูลต่างๆ ของ OpenERP การเขียนเช็ค ระบบสินทรัพย์ การติดตามการชำระเงิน รวมทั้งระบบ MRP และ งานบุคคล

        ในส่วนของบัญชี การรับชำระเงินให้เจ้าหนี้ และในส่วน Open ERP ตัวการสินทรัพย์ ในส่วนของเจอนอล รวมทั้งการสร้างอีเมล์เทมเพลตลำดับแรกไปที่ Customer แล้วกด Create สร้างมาเสร็จก็กด Save เสร็จแล้วกด Validate การชำระหนี้ก็จะเสร็จเรียบร้อย แล้วเราก็จะมาทำในส่วนของการเขียนเช็คให้แก่เจ้าหนี้ คือการทำ Write Check แล้วกด Crete ก็สามารถ Create เจ้าหนี้ลงได้เลยนะคะ ก็จะขึ้นรายการขึ้นมาว่าเราจะใส่อะไรเท่าไหร่ เสร็จแล้วทำการ Save เราก็สามารถปริ้นเช็คออกมาได้ ไปจะพามาดูในส่วนของ แอสเซส จะเป็นส่วนของการจัดการสินทรัพย์ ก็จะมีในส่วนของการใส่มูลค่าสินทรัพย์หรือสินค้าตัวนี้ และวันที่ซื้อเข้ามา รวมถึงการคำนวนการเสื่อมราคาว่าเป็นแบบไหน


ในส่วนของ History ส่วนของการบันทึกการเสื่อมราคาต่างของแต่ละเดือนหรือของแต่ละปี ถ้าเราต้องการให้รันอยู่ตลอดเราต้องกด Confirm Asses หรือเราต้องการแก้ไขเราก็มาในส่วนของ set to dram ถ้าเราจะปิดดเรามาที่ set to Close การกำหนด E-Mail ตรงนี้จะมีการให้กำหนดต่าง และมีการเลือกว่าจะมีการ Applier to ตรงไหน และสามารถสั่งปริ้นออกมาจากระบบได้ โดยที่ส่งไปหาลูกค้า ใน E-mail ก็จะมี Content ต่าง ที่เรากำหนดว่าเรากำหนดอะไรบ้าง ส่งไปยัง Partner และ User  Domul Purchase ทำการจัดซื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถสร้างใบรายการจัดซื้อ หรือ purchase Order ให้ผู้จัดจำหน่ายได้เร้ซมาขึ้น โดยในตัวอย่างวันนี้ เราจัดทำการจัดซื้อที่สิ้นค่้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ มีราคาที่อยู่ 1,000 บาทต่อยูนิต และสั่งซื้อจากซัพพลายเออที่มีชื่อว่า Chana Export มี Lead Time ในการจัดส่งสินค้าอยู่ที่ 15 วัน ไม่มีจำนวนขั้นต่ำในการสั่งซื้อ


        สำหรับในการสั่งซื่อทำได้โดยไปคลิกที่ Purchases จากนั้นไปคลิกที่ Quotation แล้วคลิก Create เพื่อสร้างใบเสนอราคา ในส่วนแรกก็ค่ือให้ใส่ชื่อของ Supplier ที่เราจะทำการซื้อจากนั้นที่ในส่วนของ Purchases Order ให้คลิกที่ Add an Item เพื่อระบุสินค้าที่เราต้องการซื้อใน Supplier ในที่นี้เราจะซื้อคอมพิวเตอร์ เมื่อเราใส่สินค้าลงไปแล้วจะเห็นว่าระบบจะขึ้นราคาต่อหน่วยที่เราระบุไว้ และเราสามารถระบบจะนำในที่นี้เราจะซื้อ 20 หน่วย เมื่อเราใส่รายละเอียดเรียบร้อยเราก็ทำการกด Update ระบบก็จะทำการคำนวนราคาขึ้นมาให้เราในมรานี้ราคาก็เป็น 20,000 บาท เป็นจำนวนถูกต้องจากนั้นทำการคลิก Save


เมื่อทำหน้านี้เสร็จแล้วเราสามารถจะจัดส่งใบคำของในกำหนดราคาจากผู้จัดจำหน่วยสินค้าได้ โดยที่จะคลิกเพื่อส่งทาง E-Mail หรือว่าปริ้นใบ Quotations ออกมา ทีนี้ก็จะอยู่ในส่วนของการรอผู้จัดจำหน่าย ในกรณีที่เราได้รับการตอบรับใบ Quotations จากลูกค้าแล้ว และหากใบคำขอนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น ในเรื่องของต้นทุนการจัดจำหน่วยเพิ่มขึ้นหรือลดลง หรือทางผู้จัดจำหน่วยอาจจะเสนอ โปรโมชั่นต่างซึ่งเราอาจจะต้องกลับมาแก้ไขใบ Quotations และสมุติว่าในใบรายการมียอดการสั่งซื้อจากหน่วยละ 1,000 บาท ทาง Supplier เห็นว่าเราสั่งซื้อเป็นจำนวนมาก จึงลดให้จาก 1,000 บาทเป็น 950 เราก็สามารถแก้ไขรายการได้ จากนั้นคลิก Update จะเห็นว่าระบบทำการแก้ไขราคารวมมูลค่าการซื้อนอกจากนั้นแล้วเมื่อเราได้ใบ Quotations จาก Supplier


กลับมาที่หน้า purchases Order เราจะสามารถรับใบแจ้งนี้แล้วก็ เพื่อที่จะจ่ายเงินให้กับผู้จัดจำหน่าย และรับสินค้าจาก Purchases Order ได้ด้วย โดยการคลิก Receive Product แล้วก็ตรวจสอบรายการว่าถูกต้องตามจำนวนถ้าถูกต้องก็กด Receive เพื่อยืนยันการรับและเราสามารถรับ ในขณะเดียวเราสามารถรับใบแจ้งหนี้จากหน้านี้ได้ด้วย แล้วก็กดคลิก Pay เพื่อทำการจ่ายเงินตรวจสอบรายการแล้วเลือกวิธีการชำระเงิน เลือกที่ Payment Method ตัวอย่างเราจะเลือกเป็นชำระผ่านธนาคาร แล้วคลิก Pay เพื่อยืนยันการชำระเงิน


      ในส่วนของ Sales ก็จะสาธิตให้ดูในส่วนของ Quotations Contract รวมกันทั้งระบบ และในส่วนของ sale Order ในส่วนนี้อันดับแรกเราไปที่ Sale แล้วไปที่ใบเสนอราคา แล้ว Create Customer กำหนดค่าต่างๆลงไปและในส่วนต่อไปก็จะเป็นการกำหนดหน่วยขาย ใส่รายละเอียดเรียบร้อยเราก็สามารถคลิด E-Mail ส่งลูกค้าได้ หากเราต้องการแก้ไขเราก็สามารถ Edit และทำการแก้ไขได้ เมื่อแก้ไขจนพอใจแล้วกด Confirm Sale หลังจากนั้นเราก็ไปตรวจดูว่าข้อมูลเหมือนที่เราได้กรอกไปหรือเปล่า เสร็จแล้วเราไปที่ Sale Order แล้วก็ไปเลือกรายการขายที่เราได้ Confirm ไปเมื่อกี้ แล้วเราก็เข้าไปสร้างใบแจ้งหนี้ ใบจ้งหนี้จะมีอยู่ 4 แบบ แบบแรกคือสร้าง invoice จากรายการขายทั้งหมดทีเราเปิดขึ้นมา แบบที่สองการระบุเป็นแบบเปอร์เซน ในส่วนนี้เราอาจจะทำเป็นมัดจำ 50 เปอร์เซน แบบที่สามคือเป็นสินค้าที่ราคาพิเศษ และเป็นแบบ Some Order Line เราก็ไปที่ Contracts อีกครั้งหนึ่ง ไปดูว่าโชว์ขึ้นรึเปล่า ในทีนี้เราสร้างขึ้น 50 %


        การใช้งานระบบ MRP เป็นระบบการว่างแผนการผลิตที่เข้าช่วยในการวางแผนการผลิต กางวางแผนการใช้งานวัตถุดิบการวางแผนใช้งานสินค้าคงคลัง อีกทั้งยังช่วยในการจัดการต้นทุนการผลิต และควบคุมให้เกิดการเสียหายน้อยที่สุด และให้เกิดการคุ้มค่าที่สุด หน้าที่หลัก ๆ ของ MRP ก็จะคือการสร้างจุดการผลิตก็คือ Work Centers และก็สร้างสายการผลิต การใช้งานเมนู MRP เราจะต้องมีการติอตั้ง คือเข้าไปที่ Setting และก็มาที่ App ที่ Icon MRP ให้กดติดตั้งเมื่อติดตั้งเสร็จก็จะมีเมนู Manufacturing ขึ้นมา ก่อนอื่นเราต้องเข้าสร้าง Work Center หรือว่าจุดการผลิต การสร้างในส่วนนนี้นี้ก็จะมีการกำหนดในส่วนของการตั้งชื่อ การกำหนดในส่วนของข้อมูลต้นทุนการผลิต


ต่อไปก็เป็นการกำหนด Routing ในการกำหนด Routing การจะมีผลิตภัณฑ์ย่อย ๆ เราสามารถกำหนดได้ โดยการคลิก Add an Item เข้าไป ต่อไปก็เป็นการกำหนด Bill Of Materials เป็นการกำหนดว่าจะผลิตสินค้านั้น ๆ สำหรับการสร้างก็จะมีการกำหนด Product ก็จะมีการกำหนดการใช้วัตถุดิบเพืื่อสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ เมื่อเรากำหนด Work Center, Routing, และ BOM เสร็จเราก็สามารถสั่งการผลิต โดยการคลิกสร้างแล้วก็กำหนด ผลิตภัณฑ์ จะเห็นว่าระบบจะดึงข้อมูลที่เราเคยสร้างไว้ก่อนมาแสดงให้เราอัตโนมัติ เป้นการบอกว่าเราจะผลิตอะไร ในส่วนของ Work Order กรณีที่เรามีการสั่งผลิต ซ้ำ ๆ และในส่วนของ Repair Order ในกรณีที่ เกิดการผลิตเสียหายเราก็สามารถสังซ่อมได้ที่นี่ และก็ Order Planning เราก็สามารถว่างแผนการผิตล่วงหน้า ต่อไป Work Orders Planning เป็นภาพรวมการผลิตว่าเราใช้ระยะเวลาการผลิตเท่าไหร่


การจัดการ Warehouse Management ขั้นตอนแรกเราก็ต้องติดตั้งโมดูลลงไปก็ก่อน โดยวันนี้เราจะแสดงการรับสินค้าการขนย้ายสินค้าภายในคลังสินค้า โดยใช้เมนู Warehouse เราสามารถเข้ไปดูได้สินค้าในคลังเราได้ที่ Product by Location ส่วนตตัวอย่างการขนย้ายสินค้าในส่วนของ Internal Move คือการย้ายสินค้าจาก Stock ไปที่ Shel 1 โดยไปที่ Warehouse แล้วไปที่ Internal Move จากนั้นคลิก Create ไปที่ Add an Item แล้วใส่ชื่อสินค้าที่เราจะทำการเคลื่อนย้าย ใส่จำนวนที่เราจะขนย้าย และกำหนดต้นทางปลายทางที่เราจะขนย้ายสินค้าเรียบร้อยแล้วเราก็คลิก Save & Close ตรวจสอบรายการสินค้าอีครั้งหนึ่งแล้วคลิก Confirm Transfer เป็นการยืนยันและให้ระบบทำการขนย้ายสินค้าได้เลย เม่ื่อเราทำการขนย้ายสินค้าเสร็จแล้วเรากลับมาดูที่ Stock by Location อีกครั้งหนึ่งจะเห็นว่าสินค้าที่อยู่ใน Stock เราได้แยกไปเก็บที่ Shel 1 เรียบร้อยตามจำนวนที่เรากำหนด


      การใช้งาน Ponit of Sales หรือ POS เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกให้กับการขายสินค้าหน้าร้านซึ่งในปัจจุบันเราก็สามารถเห็นระบบนี้ได้ตามร้านสะดวกซื้อหรือตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ เนื่องจากระบบ POS เป็นระบบที่เข้ามาช่วยในเรื่องของการคำนวนเงิน การคำนวณส่วนลด การคำนวนณเงินทอน การพิมพ์ใบเสร็จการค้นหาสินค้าจากบาร์โค้ท จะเห็นได้ว่าระบบ POS จะเหมาะกับการขายสินค้าหน้าร้าน และสาารถใช้งานที่แบบ Online หรือแบบ Offline สามารถใช้งานแบบทัชสกรีน สามารถเก็บข้อมูลบัญชี จะเห็นว่าโปรแกรม Open ERP จะดวกในการใช้งานมากกว่า สำหรับการใช้งาน POS ก่อนอื่นเลยเราต้องทำการติดตั้งโดยมาที่ Setting แล้วก็ไปที่ App แลก็ทำการติดตั้ง POS ลงไป เราก็กำหนด POS เสร็จเราก็ไป ทำการขายหน้าร้านโดยที่เข้าไปที่ You Session แล้วก็เริ่มการขายโดยไปที่ New Session ก็จะปารกฏหน้าตาการขายหน้าร้านขึ้นมา ซึ่งพนักงานก็สามารถคลิกเลือกสินค้า และสามารถค้นหาสินค้าเมื่อทำการเลือสินค้าเสร็จ เราก็สามารถปิดการขายของแต่ละวัน เราสามารถมาดูสรุปการขายของแต่ละวันได้ที่ Order



รับทำระบบ ERP โดย: http://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?f=6&t=2042

 

Share on Social Networks

แบ่งปันลิงค์

Use permanent link to share in social media

Share with a friend

กรุณา login to send this video โดยอีเมล!

Post comment with email address (confirmation of email is required in order to publish comment on website) or please login to post comment

สอนการใช้งาน โมดูลต่างๆ ของ OpenERP การเขียนเช็ค ระบบสินทรัพย์ การติดตามการชำระเงิน รวมทั้งระบบ MRP และ งานบุคคล

รับทำระบบ ERP โดย: http://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?f=6&t=2042

By:http://www.mindphp.com

มุมมอง

  • 6529 Total Views
  • 6529 Website Views

การดำเนินการ

  • 0 Social Shares
  • 1 Likes
  • 0 Dislikes
  • 0 Comments

Share count

  • 0 Facebook
  • 0 Twitter
  • 0 LinkedIn
  • 0 Google+