ใช้งานระบบ ERP ใน OpenERP ตั้งค่า HR สำหรับวันหยุด วันลา การลา ของพนักงานในระบบ Holiday Management
ใช้งานระบบ ERP ใน OpenERP ตั้งค่า HR สำหรับวันหยุด วันลา การลา ของพนักงานในระบบ Holiday Management วิธีการตั่งค่า การจัดการวันหยุดพนักงานในระบบ OpenERP จะช่วยในเรื่องของผู้จัดการจะสามารถกำหนดและอนุมัติวันลาของพนักงานแบบบุคคล และแผนกทั้งหมดได้ ส่วนพนักงานจะสามารถ ส่งใบลา ลาป่วย ลากิจ รวมทั้งสามารถดูรายงานสถิติการลาของพนักงานในแต่ละเดือนได้อีกด้วย
OpenERP การตั้งค่า HR สำหรับวันหยุด วันลา การลา ของพนักงานในระบบ Holiday Management
ในคลิปวีดีโอชุดนี้จะมานำเสนอการลาของพนักงานหรือเรียกว่า Holiday Management ในะระบบ OpenERP ระบบนี้จะช่วยในการลาและก็สามารถอนุมัติใบลาได้และมีการส่งอนุมัติการลามาที่ตารางทำงานของพนักงานคนนั้น และสามารถแสดงสีตามประเภทวันลาเช่นการลาวันป่วยแสดงเป็นแทบสีแดงในระบบได้
ที่นี้เรามาลองเข้าระบดูเมื่อ Login เข้ามาแล้วหน้าตาของ OpenERP ก็จะเป็นแบบนี้ก็จะทำการติดตั้งโมดูล ก็เข้าไปที่ Setting และหลังจากนั้นก็จะไปที่ Add และก็จะมาที่ Leave Management และก็ทำการติดตั้ง หลังจากที่เราติดตั้งแล้วก็เข้ามาที่ Configurations แล้วเข้ามาที่ Human Resources ถ้าเราต้องการจัดการเกี่ยวกับวันหยุดวันลาก็เข้าไปที่ Additional Features แล้วเลือก Management holidays,leaves and allocation Requests จากนั้่นเราก็กด Apply เมื่อติดตั้งเครื่องมือเรียบร้อยพนักงานสามารถส่งในลา แล้ว Manager หรือผู้จัดการมาอนุมัติ
เมื่อพนักงานทำการสร้างใบลา ระบบก็จะแสดงข้อมูลวันลาดังกล่าวปรากฎในตารางการทำงานของพนักงานคนดังกล่าวโดยอัตโนมัติ อีกทั้งยังสามารถกำหนดประเภทการลาได้เช่น ลาป่วย หรือลากิจ และยังสามารถกำหนดจำนวนวันลาของการลาแต่ละประเภทได้อีกด้วยสำหรับการใช้งานหลักของโมดูล Leave Management ตัวนี้ มี 4 ขั้นตอนหลัก
ขั้นตอนที่หนึ่งคือการสร้างประเภทการลา หรือ Leave Type และให้ไปที่ Human Resource และหลังจากนั้นก็เข้ามาที่ Configuration ถ้าต้องการจะสร้างประเภทการลาให้ก็เข้าไปที่ Create เพื่อสร้างประเภทการลาใหม่ใน Leave Type ก็จะสามารถระบุประเภทการลาที่ต้องการสร้างใหม่ในช่องนี้ แล้วก็ส่วน Meeting type ก็คือส่วนของการกำหนดประเภทการประชุม ระบบจะเชื่อมโยงไปที่ปฎิทินเช่นกัน ส่วน Appli Duoble Validation ก็คือ หากต้องการให้มีผลซ้ำกันสองครั้งก็คลิที่ตรงนี้ ก็จะมีในสวนของ Arow To Override Limit คือให้พนักงานขอลาหยุดได้มากว่าจะนวนที่ตั้งไว้
ตัวอย่างประเภทการลาป่วย โดยได้รับเงินเดือนไม่เกิน 30 วัน ต่อปี อันนี้ไม่ต้องกด Arow To Override Limit แต่ว่าการลาโดยที่ไม่ได้รับค่าจ้าง พนักงานสามารถลาได้ไม่จำกัดจำนวนวันให้เลือกที่ row To Override Limit ก็คือลาได้โดยไม่จำกัดจำนวนวันแต่ไม่ได้รับค่าจ้าง ที่นี้ตัว color Report คือการเลือกสีเกี่ยวกับการลาของแต่ละประเภทของคนหยุดงานเราก็สามารถเลือกได้หลากหลายสี ที่นี้ขอยกตัวอย่างจากการลาแต่ละประเภทให้ดูว่าประเภทการลาเราควรจะลายังไง ก็สร้างเป็นสมุตติการลาป่วย
OpenERP การตั้งค่า HR สำหรับวันหยุด วันลา การลา ของพนักงานในระบบ Holiday Management
ในคลิปวีดีโอชุดนี้จะมานำเสนอการลาของพนักงานหรือเรียกว่า Holiday Management ในะระบบ OpenERP ระบบนี้จะช่วยในการลาและก็สามารถอนุมัติใบลาได้และมีการส่งอนุมัติการลามาที่ตารางทำงานของพนักงานคนนั้น และสามารถแสดงสีตามประเภทวันลาเช่นการลาวันป่วยแสดงเป็นแทบสีแดงในระบบได้
ที่นี้เรามาลองเข้าระบดูเมื่อ Login เข้ามาแล้วหน้าตาของ OpenERP ก็จะเป็นแบบนี้ก็จะทำการติดตั้งโมดูล ก็เข้าไปที่ Setting และหลังจากนั้นก็จะไปที่ Add และก็จะมาที่ Leave Management และก็ทำการติดตั้ง หลังจากที่เราติดตั้งแล้วก็เข้ามาที่ Configurations แล้วเข้ามาที่ Human Resources ถ้าเราต้องการจัดการเกี่ยวกับวันหยุดวันลาก็เข้าไปที่ Additional Features แล้วเลือก Management holidays,leaves and allocation Requests จากนั้่นเราก็กด Apply เมื่อติดตั้งเครื่องมือเรียบร้อยพนักงานสามารถส่งในลา แล้ว Manager หรือผู้จัดการมาอนุมัติ
เมื่อพนักงานทำการสร้างใบลา ระบบก็จะแสดงข้อมูลวันลาดังกล่าวปรากฎในตารางการทำงานของพนักงานคนดังกล่าวโดยอัตโนมัติ อีกทั้งยังสามารถกำหนดประเภทการลาได้เช่น ลาป่วย หรือลากิจ และยังสามารถกำหนดจำนวนวันลาของการลาแต่ละประเภทได้อีกด้วยสำหรับการใช้งานหลักของโมดูล Leave Management ตัวนี้ มี 4 ขั้นตอนหลัก
ขั้นตอนที่หนึ่งคือการสร้างประเภทการลา หรือ Leave Type และให้ไปที่ Human Resource และหลังจากนั้นก็เข้ามาที่ Configuration ถ้าต้องการจะสร้างประเภทการลาให้ก็เข้าไปที่ Create เพื่อสร้างประเภทการลาใหม่ใน Leave Type ก็จะสามารถระบุประเภทการลาที่ต้องการสร้างใหม่ในช่องนี้ แล้วก็ส่วน Meeting type ก็คือส่วนของการกำหนดประเภทการประชุม ระบบจะเชื่อมโยงไปที่ปฎิทินเช่นกัน ส่วน Appli Duoble Validation ก็คือ หากต้องการให้มีผลซ้ำกันสองครั้งก็คลิที่ตรงนี้ ก็จะมีในสวนของ Arow To Override Limit คือให้พนักงานขอลาหยุดได้มากว่าจะนวนที่ตั้งไว้
ตัวอย่างประเภทการลาป่วย โดยได้รับเงินเดือนไม่เกิน 30 วัน ต่อปี อันนี้ไม่ต้องกด Arow To Override Limit แต่ว่าการลาโดยที่ไม่ได้รับค่าจ้าง พนักงานสามารถลาได้ไม่จำกัดจำนวนวันให้เลือกที่ row To Override Limit ก็คือลาได้โดยไม่จำกัดจำนวนวันแต่ไม่ได้รับค่าจ้าง ที่นี้ตัว color Report คือการเลือกสีเกี่ยวกับการลาของแต่ละประเภทของคนหยุดงานเราก็สามารถเลือกได้หลากหลายสี ที่นี้ขอยกตัวอย่างจากการลาแต่ละประเภทให้ดูว่าประเภทการลาเราควรจะลายังไง ก็สร้างเป็นสมุตติการลาป่วย
มุมมอง
- 2987 Total Views
- 2987 Website Views
การดำเนินการ
- Social Shares
- 0 Likes
- 0 Dislikes
- 0 Comments
Share count
- 0 Facebook
- 0 Twitter
- 0 LinkedIn
- 0 Google+
-
สอนสร้าง Menu เมนู ใน Joomla วิธีจัดการเมนู ทำเมนู
5331 Views .